ประวัติโดยสังเขป (Biography)

ประวัติ

. ตำแหน่ง
ชื่อ  พระครูปลัดสุวัฒนวชิรคุณ  ฉายา  มงฺคโล  นามสกุล  เกื้อกูล  อายุ ๕๐  พรรษา  ๓๐       วิทยฐานะ  นักธรรมเอก, ป..    วุฒิทางโลก ป.วค., พธ.บ., M.A. ปริญญาโท สาขา ภาษาศาสตร์ เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง  สังกัดวัดในเมืองไทย วัดยางน้อย ตำบลก่อเอ้ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ปัจจุบันสังกัดในต่างประเทศ  วัดนวมินทรราชูทิศ เฉลิมพระเกียรติ นครบอสตัน เมืองเคมบริดจ์- เมืองเรย์นแฮม มลรัฐแมสซาชูเซตส์  ประเทศสหรัฐอเมริกา 
ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง    ๑. พระธรรมทูตสายต่างประเทศ รุ่นที่ ๙ (พ.ศ.๒๕๔๗) ปฏิบัติศาสนกิจ
                                 ประจำวัดนวมินทรราชูทิศ เฉลิมพระเกียรติ นครบอสตัน
                                 เมืองเคมบริดจ์-เรย์แฮม มลรัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา
                                 จนถึงปัจจุบัน
๒. หัวหน้าสงฆ์วัดนวมินทรราชูทิศ เฉลิมพระเกียรติ นครบอสตัน
    เมืองเคมบริดจ์-เมืองเรย์นแฮม มลรัฐแมสซาชูเซตส์
    ประเทศสหรัฐอเมริกา             
                                   ๓. รองประธานกรรมการอำนวยการวัดนวมินทรราชูทิศ นครบอสตัน
                                       เมืองเคมบริดจ์-เรย์นแฮม มลรัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา
๔.  รองเลขาธิการสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา ชุดประจำปี พ.ศ.
     ๒๕๕๗-๒๕๕๙
พ.ศ.๒๕๕๗                        เป็นรองเลขาธิการสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ชุดประจำปี พ.ศ.๒๕๕๗-๒๕๕๙
            พ.ศ. ๒๕๕๗                             เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญที่ พระภาวนาวชิรวิเทศ วิ.
          พ.ศ. ๒๕๕๘                             เป็นรองเจ้าคณะภาครัฐตะวันออก รูปที่ ๒
                                                            ช่วยดูแลความสงบเรียบร้อย วัดในเขตรับผิดชอบเขต ๑
                                                แขวงนิวยอร์ก มีจำนวน ๖ วัด คือ
                                                ๑. วัดวชิรธรรมปทีป               รัฐนิวยอร์ก
                                                ๒. วัดมงคลเทพมุนี                รัฐเพ็นซิลวาเนีย
                                                   ๓. วัดพระธรรมกาย นิวเจอร์ซี่          รัฐนิวเจอร์ซี่
                                                ๔. วัดพระธรรมกาย นครบอสตัน รัฐแมสซาชูเซตส์
                                                ๕. วัดนวมินทรราชูทิศ เฉลิมพระเกียรติ รัฐแมสซาชูเซสต์
                                                ๖. ศูนย์ปฏิบัติธรรมเวสต์เรดดิ้ง รัฐคอนเนคติคัต
          พ.ศ. ๒๕๕๙                       เป็นกรรมการอำนวยการสมัชชาฯ สาราณียากร รูป ที่ ๒
          พ.ศ. ๒๕๖๐                       เป็นพระอุปัชฌาย์ มีหน้าที่เป็นประธานและรับผิดชอบตามกฎฯ๑๗                                                                                                                                                                                                                                                                            


. สถานะเดิม                                                                   

๑๐
ชื่อ  มงคล  นามสกุล  เกื้อกูล เกิดวันพุธ  ๔ ฯ ๙  ปี มะแม วันที่    เดือน สิงหาคม 
..   บิดา  นายทองเหล็ก  เกื้อกูล  มารดา    นางอำคา   เกื้อกูล  ที่บ้านเลขที่  ๑๖ หมู่  ๗  
ตำบล  ธาตุน้อย อำเภอ  เขื่องใน  จังหวัด   อุบลราชธานี 
เคยรับราชการหรือเคยปฏิบัติงานสำคัญมาแล้ว คือ………….……….……

. อุปสมบท
              ๑๓
วัน ๗ ฯ ๗ ค่ำ ปี มะโรง           วันที่ ๒๘  เดือน พฤษภาคม  พ.ศ ๒๕๓๑ 
วัดธาตุน้อย  ตำบล ธาตุน้อย อำเภอเขื่องใน
จังหวัดอุบลราชธานี
พระอุปัชฌาย์                      พระครูศรีรัตนโสภณ (ปัจจุบันเป็นพระสิริพัฒนาภรณ์)  
เจ้าอาวาสวัดเขื่องกลาง และเจ้าอาวาสวัดทุ่งศรีเมือง
จังหวัดอุบลราชธานี 
พระกรรมวาจาจารย์             พระครูขันตยาธิคุณ เจ้าอาวาสวัดแสงน้อย   ตำบล นาคำใหญ่  อำเภอ เขื่องใน  จังหวัด อุบลราชธานี
พระอนุสาวนาจารย์             พระครูสุนทรพัฒนากร เจ้าอาวาสวัดแดงหม้อ  ตำบล แดงหม้อ อำเภอ เขื่องใน จังหวัด อุบลราชธานี

. วิทยฐานะ
ฝ่ายสามัญ
พ.ศ. ๒๕๒๒                       สำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖  จากโรงเรียนบ้านธาตุน้อย (สิงห์ประชาพิทยาคาร) อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
          พ.ศ. ๒๕๒๕                       สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ จากโรงเรียนยางชุมน้อย
พิทยาคม อำเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรีษะเกษ
พ.ศ. ๒๕๒๘                             สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จากโรงเรียนเขื่องใน
พิทยาคาร อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
.. ๒๕๔๑                        สำเร็จการศึกษาชั้นปริญญาพุทธศาสตร์บัณฑิต (พธ..)
คณะพุทธศาสตร์ วิชาเอกศาสนาปรัชญา เกียรตินิยมอันดับสอง จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย  รุ่นที่ ๔๕  
          ..๒๕๔๑                         สำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพครู (.วค.) 
คณะครุศาสตร์ จากมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (สอบได้คะแนนอันดับหนึ่งของรุ่นที่วิทยาเขตอุบลราชธานีในปีนั้น
.. ๒๕๔๕                        สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท คณะศิลปศาสตร์ (M.A.)
เอกภาษาศาสตร์ เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง มหาวิทยาลัยนาคปูร์ ประเทศอินเดีย
          ฝ่ายนักธรรม
.. ๒๕๓๑                        สอบได้นักธรรมชั้นตรี  สำนักเรียนวัดธาตุน้อย  ตำบลธาตุน้อย  
อำเภอเขื่องใน   จังหวัด  อุบลราชธานี     
.. ๒๕๓๒                        สอบได้นักธรรมชั้นโท   สำนักเรียนวัดธาตุน้อย ตำบลธาตุน้อย 
อำเภอเขื่องใน   จังหวัด อุบลราชธานี  
          .. ๒๕๓๓                        สอบนักธรรมชั้นเอก  สำนักเรียนวัดธาตุน้อย  ตำบล ธาตุน้อย
อำเภอ เขื่องใน  จังหวัด อุบลราชธานี  
          ฝ่ายบาลี          
.. ๒๕๓๓                       สอบได้ประโยค ๑-๒  สำนักเรียน วัดยางน้อย  ตำบลก่อเอ้ 
อำเภอ เขื่องใน  จังหวัด  อุบลราชธานี 
พ.ศ. ๒๕๓๕                             สอบได้ประโยค ป.ธ.๓  สำนักเรียน วัดยางน้อย  ตำบลก่อเอ้ 
อำเภอ เขื่องใน  จังหวัด  อุบลราชธานี 
พ.ศ ๒๕๓๗                              สอบได้ประโยค ป.ธ.๔    สำนักเรียน วัดยางน้อย  ตำบลก่อเอ้ 
อำเภอ เขื่องใน  จังหวัด  อุบลราชธานี 
.. ๒๕๔๓                        สอบได้ประโยค  ..   สำนักเรียน วัดยางน้อย  ตำบลก่อเอ้ 
อำเภอ เขื่องใน  จังหวัด  อุบลราชธานี 
การศึกษาพิเศษ                     สามารถอ่านเขียนอักษรธรรม และแนะนำสอนผู้อื่นได้
                                       สามารถพูด อ่าน ฟัง เขียน และสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ
ในระดับดีมาก
ความชำนาญการ                 เป็นผู้ชำนาญในด้านนวกรรม   การสอนวิปัสสนากรรมฐาน
                                      และแสดงพระธรรมเทศนาภาคภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้
.งานปกครอง
.ศ. ๒๕๔๐                        เป็นรองเจ้าอาวาสวัดยางน้อย ตำบลก่อ อำเภอ เขื่องใน
จังหวัด อุบลราชธานี  
          พ.ศ. ๒๔๔๑                        เป็นเจ้าคณะตำบลก่อเอ้ เขต ๒  ตำบล ก่อเอ้  อำเภอ เขื่องใน 
จังหวัด อุบลราชธานี 
พ.ศ.๒๕๕๐                             เป็นรองหัวหน้าสงฆ์วัดนวมินทรราชูทิศ เฉลิมพระเกียรติ
                                       นครบอสตัน เมืองเคมบริดจ์-เรย์แฮม
                                       มลรัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา
พ.ศ.๒๕๕๒                          เป็นหัวหน้าสงฆ์วัดนวมินทรราชูทิศ เฉลิมพระเกียรติ
                                       นครบอสตัน เมืองเคมบริดจ์-เรย์แฮม
                                       มลรัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา จนถึงปัจจุบัน
พ.ศ. ๒๕๕๒                        เป็นรองประธานกรรมการอำนวยการวัดนวมินทรราชูทิศ
                                      เฉลิมพระเกียรติ นครบอสตัน เมืองเคมบริดจ์-เรย์แฮม
                                       มลรัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา
พ.ศ.๒๕๕๗                        เป็นรองเลขาธิการสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ชุดประจำปี พ.ศ.๒๕๕๗-๒๕๕๙
          พ.ศ. ๒๕๕๘                             เป็นรองเจ้าคณะภาครัฐตะวันออก รูปที่ ๒
                                                            ช่วยดูแลความสงบเรียบร้อย วัดในเขตรับผิดชอบเขต ๑
                                                แขวงนิวยอร์ก มีจำนวน ๖ วัด คือ
                                                ๑. วัดวชิรธรรมปทีป               รัฐนิวยอร์ก
                                                ๒. วัดมงคลเทพมุนี                รัฐเพ็นซิลวาเนีย
                                                   ๓. วัดพระธรรมกาย นิวเจอร์ซี่          รัฐนิวเจอร์ซี่
                                                ๔. วัดพระธรรมกาย นครบอสตัน รัฐแมสซาชูเซตส์
                                                ๕. วัดนวมินทรราชูทิศ เฉลิมพระเกียรติ รัฐแมสซาชูเซสต์
                                                ๖. ศูนย์ปฏิบัติธรรมเวสต์เรดดิ้ง รัฐคอนเนคติคัต
          พ.ศ. ๒๕๕๙                       เป็นกรรมการอำนวยการสมัชชาฯ สาราณียากร รูป ที่ ๒ พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๑
          พ.ศ. ๒๕๖๐                       เป็นพระอุปัชฌาย์ มีหน้าที่เป็นประธานและรับผิดชอบตามกฎฯ๑๗                                                                                                                                                                                                                                                                            
.ศ ๒๕๕๓                        มีพระภิกษุจำพรรษา  ๗ รูป      สามเณร…………………รูป
ศิษย์วัด          ๔        คน      อารามิกชน………………คน
.ศ ๒๕๕๔                        มีพระภิกษุจำพรรษา ๕ รูป       สามเณร………………….รูป
ศิษย์วัด          ๔        คน      อารามิกชน………………คน
.ศ ๒๕๕๕                         มีพระภิกษุจำพรรษา  ๖ รูป       สามเณร………………….รูป
ศิษย์วัด          ๔        คน      อารามิกชน………………คน
พ.ศ. ๒๕๕๖                        มีพระภิกษุจำพรรษา ๗ รูป       สามเณร………………….รูป
ศิษย์วัด          ๔        คน      อารามิกชน………………คน
พ.ศ. ๒๕๕๗                        มีพระภิกษุจำพรรษา  ๕ รูป      สามเณร………………….รูป
ศิษย์วัด          ๔        คน      อารามิกชน………………คน
            พ.ศ. ๒๕๕๘                             มีพระภิกษุจำพรรษา ๑๑ รูป      สามเณร..........................รูป
 ศิษย์วัด         ๔        คน      อารามิกชน………………คน
          พ.ศ. ๒๕๕๙                             มีพระภิกษุจำพรรษา ๑๔ รูป      สามเณร..........................รูป
 ศิษย์วัด         ๔        คน      อารามิกชน………………คน

บทบาทของวัดและพระธรรมทูตที่อยู่จำพรรษา
          วัตถุประสงค์ที่สำคัญของการจัดตั้งวัดขึ้นประการหนึ่ง คือเพื่อเป็นศูนย์การเผยแผ่หลักธรรมคำสอน ทางพระพุทธศาสนา ดังนั้น พระธรรมทูตที่มาอยู่ปฏิบัติศาสนกิจ จึงมีหน้าที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งดังกล่าว โดยแบ่งเป็นประเภทดังนี้

ภาคทฤษฎี   
๑. การเผยแผ่ธรรมะโดยตรง จัดให้มีการเทศน์ในโอกาสต่างๆ การกล่าวธรรมมีกถา การปาฐกถา และกล่าวสัมโมทนียกถา เนื่องในโอกาสวันสำคัญต่างๆ ทั้งงานมงคลและงาน อวมงคล งานทำบุญตามประเพณีต่างๆ
๒. การบรรยายให้ความรู้ทางพระพุทธศาสนาและศาสนธรรม แก่พุทธบริษัทระหว่างพรรษา เป็นประจำหลังจากทำวัตรเย็นแล้ว
๓. จัดให้มีการเรียนการสอนในชั้นเรียนแก่นักเรียนโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ วัดนวมินทรราชูทิศ แห่งนครเคมบริดจ์-บอสตัน ทั้งวิชาการทางศาสนา ภาษาและวัฒนธรรมไทย
๔. การผลิตสื่อธรรมะด้านเอกสารสิ่งตีพิมพ์เพื่อการเผยแพร่ เช่นหนังสือวารสาร จุลสาร สูจิบัตรงานต่างๆ จดหมายข่าว หนังสือทำวัตรสวดมนต์เช้า-เย็น เป็นต้น
  ๕. การผลิตสื่อธรรมะด้านเสียง เพื่อบรรณาการแก่ผู้ทำบุญและผู้สนใจทั่วไป มีทั้งเทปคาสเซ็ต ซีดีธรรมะ ทั้งออดิโอ และวีซีดี    
 ภาคธรรมะ (ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) เช่น พระไตรปิฎก ฉบับเรียนพระไตรปิฎก เวอร์ชั่น ๒ และ ๒.๑, ธรรมอบรมจิต, ชีวิตนี้น้อยนัก พระราชนิพนธ์ของ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชสกลสังฆปรินายก, พุทธประวัติ ฉบับการ์ตูน, รวมสวดมนต์ทำวัตรแปลและไม่แปล ไทย-อินเดียและธิเบต ระบบ mp3, รวมธรรมบรรยาย โดย พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ ป.ธ.๙) ระบบ mp3,  พุทธธรรม ระบบ mp3 โดย พระธรรมปิฎก, รวมวีซีดีธรรมและเอมพีสาม ของพุทธทาสภิกขุ เช่น บุญแท้เมื่อหมดความรู้สึกอยากมีบุญ, นิพพาน, ความสุขแท้เมื่อสิ้นสุดแห่งความสุข, การหลุดพ้นที่แท้จริง, การหลุดพ้นที่แท้จริง, รู้จักตนเมื่อเห็นความไม่มีตน, ประโยชน์ของชีวิต, ใจความสำคัญของพระพุทธศาสนา, สิ่งที่ธรรมะมีให้, ภาระของชีวิต, ผลแท้จริงของคนศึกษาพุทธศาสนา, การศึกษาพุทธศาสนาในฐานะอะไร ฯลฯ Success in study and practice, Nibbana, Bennefits of having, Anatta and Rebirth, Using Anapanasati in the Housekold, Why Vipassana?, How to be free of Dhukkha? Ect. Anapanasati by Ajahn Pasanno, Insight Meditation and Loving Kindness by Pannyavaro
  อัปปมัญญาภาวนา (พม่า) ๑. บาลี ๒. อังกฤษ
ชุดเวสสันดรภาษาอีสานและภาคกลาง ระบบออดิโอ (และเป็นภาพยนตร์ ประกอบลำมหาชาติกัณฑ์มัทรีทำนองอุบล-แหล่อีสาน โดยพระครูสุนทรสุตกิจ), ชุดเพลงแหล่สร้าง วัดนวมินทรราชูทิศ แห่งนครเคมบริดจ์-บอสตันชุดอารามธรรม, ชุดพุทธบุตรชาวไทย, ชุดแว่วเสียงแม่, ชุดเข้าวัดฟังธรรม, ชุดนวมินทร์รวมใจ และ VCD ชุดกิจกรรมวันแม่ วันงานกฐิน วันสงกรานต์ ฯลฯ
๖. งานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเผยแผ่ธรรม เช่น การใช้อินเตอร์เน็ต การสร้างโฮมเพจ เพื่อประชาสัมพันธ์กิจกรรมของวัด เผยแผ่ธรรมะทางอินเตอร์เน็ต การใช้ไปรษณีย์อีเล็คทรอนิคส์ (e-mail) ในการติดต่อสื่อสาร โดยการถาม-ตอบปัญหาธรรมะและข่าวสารข้อมูลอื่นๆ
๗. ประชาสัมพันธ์ข่าวกิจกรรมทางวัดทางสื่อหนังสือพิมพ์ ทั้งในประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศไทย พร้อมประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการจัดงานในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา และวันสำคัญในโอกาสต่าง ๆ แต่ละเดือน ทั้งสิบสองเดือน ที่ทางวัดนวมินทรราชูทิศ จัดให้มีขึ้น ลงใน นวมินทร์สารเพื่อเป็นธรรมบรรณนาการแก่ผู้มาร่วมงาน
๘. เปิดสอนธรรมะในระบบอินเตอร์เน็ต

ภาคปฏิบัติ  
๑.มีการทำวัตรสวดมนต์ เช้า-เย็น ปฏิบัติศาสนกิจส่วนนี้เป็นประจำทุกวันตลอดปี
๒.มีการทำอุโบสถกรรม (สวดพระปาฏิโมกข์) ทุกกึ่งเดือน ตลอดปี
๓.มีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานทุกวันอาทิตย์ ตลอดปี 
๔.จัดการสอนปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน (Meditation Class) แก่ผู้สนใจรายบุคคล และหมู่ คณะ ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ทั้งที่วัด บ้าน และร้านอาหาร
๕.จัดให้มีการรักษาอุโบสถศีล
๖.จัดให้มีการบรรพชาสามเณรทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ
๗.จัดให้มีการอุปสมบทพระภิกษุทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ
๘.จัดอบรมปฏิบัติธรรมอาทิตย์สุดท้ายของทุกๆ เดือนตลอดปี  คือมีการจัดปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ครั้งละ ๓ วัน ๒ คืน ทุกเดือน ๆ ละ ๑ ครั้ง ตลอดปี
๙.ปัจจุบันจัดการสอนกรรมฐานภาคสังคมสงเคราะห์ให้แก่ผู้ที่มาเยี่ยมชมวัดสอนทุกวันถ้าสาธุชนสนใจเรียนรู้พระพุทธศาสนาเพื่อนำไปปรับปรุงในชีวิตประจำวัน

มีระเบียบการปกครองวัด  ดังนี้
(๑)      อบรมพระภิกษุให้ประพฤติปฏิบัติดีตามพระธรรมวินัย
(๒)     อบรมและควบคุมให้มีความสามัคคีไม่แบ่งเป็นหมู่คณะ
(๓)      อบรมให้รู้จักรักษาศาสนสมบัติของวัดอันมีค่าของพระพุทธศาสนา
(๔)      ตั้งระเบียบการปกครองวัดไว้อย่างเคร่งครัด  โดยอนุโลมตามหลักพระธรรมวินัย  และกฎระเบียบพระราชบัญญัติการปกครองคณะสงฆ์ และระเบียบสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
(๕)     อบรมให้รู้จักคุณค่าความสะอาด  กุฏิ  บริเวณวัด  ให้มีความสะอาด
(๖)      เป็นผู้ดูแลความประพฤติของพระภิกษุสามเณร  ตลอดทั้งผู้อาศัยอยู่ในวัด
(๗)     มอบหมายให้พระภิกษุ  ช่วยดูแลควบคุมกิจการงานของสงฆ์ภายในวัดเพื่อให้เรียบร้อยดีงาม
(๘)      พระภิกษุสามเณร ที่อาศัยอยู่ในวัด  เมื่อมีธุระจะออกไปทำธุระนอกวัด 
ต้องบอกลาเจ้าอาวาสหรือผู้ช่วยเจ้าอาวาส  ก่อนออกจากวัดทุกครั้ง
(๙)     อบรมชี้แจง  ให้พระภิกษุสามเณร  รู้จักปฏิบัติตามกติกาของวัด 
พร้อมระเบียบพระราชบัญญัติการปกครองคณะสงฆ์ ระเบียบสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
(๑๐)    อบรมพระภิกษุสามเณร ให้รู้จักคุณค่าความของเป็นระเบียบเรียบร้อย 
ความสะอาดภายในบริเวณวัด  เช่น  กุฏิ  ศาลาการเปรียญ  และเสนาสนะ
ที่อยู่อาศัย  ตลอดทั้งให้รู้จักคุณค่าของสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ

มีกติกาของวัด    คือ
(๑)      พระภิกษุสามเณรทุกรูปจะต้องนุ่งห่มจีวรให้เป็นปริมณฑลทั้งภายในวัดและนอกวัด  รูปใดไม่ปฏิบัติตาม  มีการว่ากล่าวตักเตือนแล้วแต่กรณี
(๒)     พระภิกษุสามเณรทุกรูปจะต้องลงประชุมทำวัตรสวดมนต์เช้า เย็น ทุกวันมิให้ขาด ถ้าหากอาพาธหรือมีกิจจำเป็น ต้องบอกลาเจ้าอาวาสให้ทราบก่อนทุกครั้ง
(๓)      ถ้าพระภิกษุสามเณรรูปใดขาดทำวัตรสวดมนต์เช้า - เย็น โดยไม่มีเหตุจำเป็นเกิน  ๗  วันต่อ  ๑  เดือน  ด้วยความเกียจคร้าน  จะถูกลงโทษหนักหรือเบาตามเหตุกรณีที่เห็นสมควรหรือให้ออกจากวัด
(๔)      พระภิกษุสามเณรในวัดทุกรูป  ต้องเคารพเอื้อเฟื้อต่อพระเถระผู้อาวุโสอยู่เสมอ
(๕)     พระภิกษุสามเณรทุกรูป จะต้องปฏิบัติกิจวัตรของสงฆ์  ๑๐  ประการ  โดยสมควรแก่ภาวะของตนโดยเคร่งครัด  คือ  พระภิกษุต้องลงฟังสวดปาฏิโมกข์  ทุกกึ่งเดือนเป็นต้น และต้องพิจารณาปัจจเวกขณะ  และเจริญแผ่เมตตาธรรมเสมอ
(๖)      ห้ามพระภิกษุสามเณรทุกรูป  สะพายย่ามในละแวกบ้านหรือในพิธีต่าง ๆ  และห้ามถือหรือเปิดวิทยุเสียงดัง  จนเป็นเหตุรบกวนความสงบสุขของผู้อื่น ฝ่าฝืนต้องถูกลงโทษ
(๗)     ห้ามพระภิกษุสามเณรทุกรูป  ออกจากวัดไปเที่ยวในสถานที่อโคจร
          ทั้งกลางวันและกลางคืนเป็นอันขาด  รูปใดฝ่าฝืนจะต้องถูกลงโทษตามแต่กรณี
(๘)      พระภิกษุสามเณรต้องปฏิบัติตามกติกาของวัดโดยเคร่งครัดเป็นพิเศษ  และต้องอยู่ร่วมกันโดยความสามัคคี  ให้ถือพระธรรมวินัยเป็นหลัก
(๙)     พระภิกษุสามเณรรูปใดไม่เคารพเชื่อฟังโอวาทของเจ้าอาวาส  ตามกติกาที่กำหนดไว้  จะถูกว่ากล่าวตักเตือน  ถ้าไม่เชื่อฟังจะถูกลงโทษและอาจถูกสั่งให้ออกจากวัด
                ในระยะ ๓ ปีที่ผ่านมา  มีอธิกรณ์เกิดขึ้นในวัด……-……….เรื่อง


. งานศึกษา
.. ๒๕๓๔                        เป็นครูสอนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม
พ.ศ. ๒๕๓๖                        เป็นครูสอนวิชาพระพุทธศาสนาในโรงเรียนบ้านดงยาง
ตำบลก่อเอ้   อำเภอเขื่องใน   จังหวัดอุบลราชธานี
          .. ๒๕๓๙                             เป็นครูสอนพระปริยัติธรรม แผนกบาลี
พ.ศ. ๒๕๔๐                        เป็นครูสอนพระปริยัติธรรมสำนักศาสนศึกษาวัดยางน้อย
.ศ ๒๕๔๑                         เป็นอาจารย์ใหญ่สำนักศาสนศึกษาวัดยางน้อย   ตำบลก่อเอ้  
อำเภอ เขื่องใน  จังหวัด อุบลราชธานี
          พ.ศ. ๒๕๔๒                         เป็นกรรมการตรวจธรรมสนามหลวง
          .. ๒๕๔๒                        ได้ผ่านการอบรมหลักสูตรฝึกหัดครูสอนพระปริยัติธรรมแผนก
บาลีชั้นสูง
พ.ศ. ๒๕๔๓                        เป็นกรรมการสนามหลวงแผนกธรรม
            
โรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์  วัดนวมินทรราชูทิศ
                                                            จำนวนครูที่มาปฏิบัติหน้าที่การสอน
                                                            ภาคฤดูร้อน
                                                            พ.ศ. ๒๕๔๙               ๑.นางบุษบง บุญใส
                                                                                                 ๒.นางสาวเกสร สิงห์ธนะ
                                                         ประจำการ ๑ ปี
                                                                                       ๑.นางสาวอรุณรัตน์ มละโยธา
                                                                                       ๒.นางสาวอรณอชา อรรจนกุล
                                                                                       ๓.นายวรวิทย์  สมเจริญทรัพย์
                                                             ภาคฤดูร้อน
                                                          พ.ศ. ๒๕๕๐               ๑.นายบันลือศักดิ์ ตรีโภคา
                                                                                       ๒.นายจารึก ศุภพงษ์
                                                          ภาคฤดูร้อน
                                                            พ.ศ. ๒๕๕๑               ๑.นายประสบโชค ชัยศรี
                                                                                       ๒.คุณครูพิริยะพัฒน์ สุขไกร
                                                             ประจำการ ๑ ปี
                                                          พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๑     ๑.นายกฤตพงษ์ มาสะอาด
                                                             ภาคฤดูร้อน
                                                          พ.ศ. ๒๕๕๒              ๑.นางนพรัตน์ คงมาลา
                                                                                       ๒.นางสาวสุภาวดี ไชยกาล
                                                          ภาคฤดูร้อนและประจำการ ๑ ปี
                                                          พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๓     ๑.นายจักรวรรดิ ภัทรภักดีกุล
                                                                                      ๒. นายภีรเมศ ทิพย์ประชาบาล
                                                          ภาคฤดูร้อน
                                                          พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๕     ๑.นางสาวนฤมล สนี่นเครื่อง
                                                                                       ๒.นางธนภรณ์ ผลถาวร
                                                          ประจำการ ๑ ปี   
                                                                                       ๑.นายจินดานุวรรธ์ บำรุงเจริญสุข
                                                                                      ๒.นายเทพพร บุตรดาน้อย
                                                         
                                                            ภาคฤดูร้อนและประจำการ ๑ ปี 
                                                            พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๖     ๑.นายอานันท์ โพธิ์ประดิษฐ์
                                                                             ๒.นายจุฑาวัฒน์ โอบอ้อม
                                                          ภาคฤดูร้อนและประจำการ ๑ ปี 
                                                พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๗     ๑.นางสาวณัฐสุดา ทิพยมนตรี
                                                                             ๒.นางสาวรติยา ชูยิ่งสกุลทิพย์
                                                                             ๓.นายชาญณรงค์ งามประเสริฐ
                                                          ภาคฤดูร้อนและประจำการ ๑ ปี 
                                                พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๕๘     ๑.นางสาวภัคจิรา ยอดหงส์
                                                                             ๒.นางสาวณัฐกุล สิริวรรณาภรณ์
                                                                             ๓.นายหฤษฎ์ แก้วเทศ  
                                                           ภาคฤดูร้อนและประจำการ ๑ ปี 
                                                พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๐     ๑.นางสาวปรืิษา อัคคีเดช 
                                                                             ๒.นางสาวภูษณิษา ตั้งสกุล
                                                                             ๓.นายวัชรพล ฉวีวาวงษ์        
                                                            จำนวนนักเรียน
                                    ภาคปกติ
                                                            พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๓     รวมนักเรียนทั้งหมด  ๒๒ คน
                                                พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๔     รวมนักเรียนทั้งหมด   ๓๘ คน
                                                 พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๕     รวมนักเรียนทั้งหมด   ๓๕ คน
                                                 พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๖     รวมนักเรียนทั้งหมด   ๓๖ คน
                                                            พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๗     รวมนักเรียนทั้งหมด   ๓๘  คน
                                    ภาคฤดูร้อน
                                                            พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๓     รวมนักเรียนทั้งหมด  ๒๒  คน
                                                พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๔     รวมนักเรียนทั้งหมด  ๓๘  คน
                                                 พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๕     รวมนักเรียนทั้งหมด   ๓๕  คน
                                                 พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๖     รวมนักเรียนทั้งหมด   ๓๖  คน
                                                            พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๗     รวมนักเรียนทั้งหมด   ๓๘  คน

โรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ วัดนวมินทรราชูทิศ การเรียนการสอนปี ๒๕๕๖-๒๕๕๗
เป็นผู้รับมอบหมายหน้าที่จากพระพรหมวชิรญาณให้ดำเนินการติดต่อ เรื่องการเข้าร่วมโครงการสอนภาษาไทยและวัฒนธรรมไทยในต่างประเทศ ของศูนย์ส่งเสริมการสอนภาษาไทยและวัฒนธรรมไทยในต่างประเทศ ศาสตราจารย์ ม.ล.จิรายุ ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงพูนทรัพย์ นพวงศ์ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๕๔๙ เป็นต้นมา โดยได้ประสานงานกับ รองศาสตราจารย์ไขศิริ ปราโมช ณ อยุธยา ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมการสอนภาษาไทยและวัฒนธรรมไทยในต่างประเทศ ในสมัยนั้น
โรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ วัดนวมินทรราชูทิศ ได้เปิดทำการเรียน  การสอน ภาษาไทย วัฒนธรรมไทย ดนตรีและนาฏศิลป์ไทย และพุทธศาสนา แก่เด็กและเยาวชนไทยในต่างประเทศ ย่างเข้าเป็นปีที่ ๙
สำหรับคณะครูที่ทำการสอนนั้น ทางวัดได้รับกุศลศรัทธานุเคราะห์จาก คณะครูอาสาสมัคร ซึ่งเป็นบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ  ได้เสียสละเวลามาช่วยงานด้านการสอนภาษาไทย วัฒนธรรมไทย ดนตรีและนาฏศิลป์ไทย โดยแบ่งการเรียนการสอนออกเป็น ๒ ภาคการศึกษา คือ
ภาคการศึกษาต้น
เริ่มวันพุธที่ ๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ถึงวันอาทิตย์ที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
ภาคการศึกษาปลาย
 เริ่มวันพุธที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ ถึงวันศุกร์ที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๗ เปิดการเรียนการสอนทั้งหมด ๓ วิชา คือ ภาษาไทย วิชาดนตรีไทย และวิชานาฎศิลป์ไทย
นักเรียนสมัครเรียนทั้งสิ้นจำนวน ๓๘ คน โดยการจัดกลุ่มสาระการเรียนรู้เป็น ๔ กลุ่ม ดังนี้
๑.กลุ่มสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
๒.กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีนักเรียนเรียน จำนวน ๒๓ คน
๓.กลุ่มสาระการเรียนรู้ดนตรีไทย มีนักเรียนเรียน จำนวน ๓๒ คน
๔.กลุ่มสาระการเรียนรู้นาฎศิลป์ไทย มีนักเรียนเรียน จำนวน ๒๒ คน

            พ.ศ. ๒๕๔๘                        เป็นผู้ประสานงานแทนพระพรหมวชิรญาณ ดำเนินการพิธีเปิด
สภาวัฒนธรรมไทยนวมินทรราชูทิศแห่งรัฐแมสซาชูเซสต์ เมื่อวันที่  ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ พิธีเปิดสภาวัฒนธรรมไทยนวมินทรราชูทิศแห่งรัฐแมสซาชูเซสต์ นครบอสตัน รัฐแมสซาชูเซสต์ ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีพระพรหม    วชิรญาณ เจ้าอาวาสวัดยานนาวา ประธานกรรมการอำนวยการวัดนวมินทรราชูทิศ เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ ฯพณฯ อุไรวรรณ เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม เป็นประธานฝ่ายฆราวาส โดยจัดงานพิธีเปิดสภาวัฒนธรรมไทยนวมินทรราชูทิศ ที่ Hibernian Hall 151 Watertown St. (Rte.16), Watertown, MA 02472
ณ ปัจจุบัน สภาวัฒนธรรมไทยนวมินทรราชูทิศแห่ง รัฐแมสซาชูเซสต์ นครบอสตัน รัฐแมสซาชูเซสต์ มีสถานที่ทำการอยู่ที่ บ้านเลขที่ 382 South St. E Raynham MA 02767ตามที่อยู่แห่งใหม่ของวัดนวมินทรราชูทิศซึ่งวัดได้ย้ายเข้ามาปฏิบัติศาสนกิจแบบถาวร วันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๙
วัตถุประสงค์
.เพื่อเสริมสร้างความสามัคคีในหมู่พี่น้องชาวไทย
ใน รัฐแมสซาชูเซสต์
.เพื่อสร้างความเป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของไทยให้ปรากฏ แก่สังคม
.เพื่อให้องค์กรสภาวัฒนธรรมเป็นองค์กรส่งเสริมสนับสนุน กิจกรรมและ โครงการทางด้านวัฒนธรรมให้เป็นสาธารณประโยชน์และสาธารณกุศล
.เพื่อประสานงานกับองค์กรการกุศลอื่นๆ ทั้งในประเทศไทยและ ประเทศสหรัฐอเมริกา
.เพื่อเผยแพร่กิจกรรมอันเป็นประโยชน์ที่ดีมีคุณค่าให้เป็น  ศูนย์กลางในการหล่อหลอมจิตใจ

. งานเผยแผ่
            พ..๒๕๓๖                        เป็นครูสอนพระปริยัติธรรมแผนกพุทธศาสนาใน โรงเรียน และ
แสดงธรรมทางสถานีโทรทัศน์ช่อง ๑๑ ทุกเช้าวันเสาร์ ในรายการแสงธรรมส่องทาง และสถานีวิทยุ รายการธรรมเพื่อนใจ
          .. ๒๕๓๗                             เป็นพระนักเผยแผ่พระพุทธศาสนา กรมการศาสนา
กระทรวงศึกษาธิการ
          .. ๒๕๔๖                       ได้ผ่านการอบรมหลักสูตรพระธรรมทูต สายต่างประเทศ รุ่นที่ ๙
(สอบได้คะแนนอันดับหนึ่งของรุ่น ในปีนั้น)
          .. ๒๕๔๖                       เป็นพระธรรมทูตสายต่างประเทศ รุ่นที่ ๙ ปฏิบัติศาสนกิจประจำ
วัดนวมินทรราชูทิศ นครบอสตัน ประเทศสหรัฐ อเมริกา
จนถึงปัจจุบัน
.ศ ๒๕๕๓                        จัดโครงการอบรมปฏิบัติธรรมประจำเดือนตลอดปี ๒๕๕๓
เดือนละ ๑ ครั้ง ครั้งละ ๓ วัน ๒ คืน ในวันศุกร์-เสาร์-อาทิตย์
มีผู้ปฏิบัติธรรมหญิงจำนวน ๒๕๐ คน     ผู้ชาย ๑๒๐ คน 
รวม ๓๗๐ คน
.ศ ๒๕๕๔                        จัดโครงการอบรมปฏิบัติธรรมประจำเดือนตลอดปี ๒๕๕๔
เดือนละ ๑ ครั้ง ครั้งละ ๓ วัน ๒ คืน ในวันศุกร์-เสาร์-อาทิตย์
มีผู้ปฏิบัติธรรมหญิงจำนวน ๓๕๐ คน     ผู้ชาย ๑๒๔ คน 
รวม ๔๗๔ คน
.ศ ๒๕๕๕                        จัดโครงการอบรมปฏิบัติธรรมประจำเดือนตลอดปี ๒๕๕๕
เดือนละ ๑ ครั้ง ครั้งละ ๓ วัน ๒ คืน ในวันศุกร์-เสาร์-อาทิตย์
มีผู้ปฏิบัติธรรมหญิงจำนวน ๓๘๐ คน     ผู้ชาย ๑๑๕ คน 
รวม ๔๙๕ คน
.ศ ๒๕๕๖                        จัดโครงการอบรมปฏิบัติธรรมประจำเดือนตลอดปี ๒๕๕๖
เดือนละ ๑ ครั้ง ครั้งละ ๓ วัน ๒ คืน ในวันศุกร์-เสาร์-อาทิตย์
มีผู้ปฏิบัติธรรมหญิงจำนวน ๔๔๖ คน     ผู้ชาย ๑๐๗ คน 
รวม ๕๕๓ คน
พ.ศ.๒๕๕๖                        จัดกิจกรรมวันส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ ตั้งแต่ปี ๒๕๔๗ จำนวน ๑๑ ครั้ง  ผู้เข้าร่วมกิจกรรม  ๗,๕๐๐ คน
            พ.ศ.๒๕๕๖                        จัดกิจกรรมวันมาฆบูชา-วันสงกรานต์   ตั้งแต่ปี ๒๕๔๗   จำนวน
๑๑ ครั้ง  ผู้เข้าร่วมกิจกรรม  ๘,๐๐๐ คน
          พ.ศ.๒๕๕๖                        จัดกิจกรรมวันวิสาขบูชา ตั้งแต่ปี ๒๕๔๗ จำนวน ๑๑ ครั้ง 
ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๖,๐๐๐ คน
พ.ศ.๒๕๕๖                        จัดกิจกรรมวันอาสาฬหบูชา-วันเข้าพรรษา ตั้งแต่ปี ๒๕๔๗ จำนวน ๑๑ ครั้ง  ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๕,๐๐๐ คน
          พ.ศ.๒๕๕๖                        จัดงานวันกฐิน-วันเฉลิมพระชนมพรรษา ตั้งแต่ปี ๒๕๔๗ จำนวน
๑๑ ครั้ง  ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๑๒,๐๐๐ คน
พ.ศ.๒๕๕๖                        จัดพิมพ์หนังสือธรรมะ วีซีดี-เทปธรรมะ เพื่อเผยแผ่พุทธศาสนาจำนวน ๗๐,๐๐๐/๓๐,๐๐๐ เล่ม/แผ่น
          พ.ศ.๒๕๕๖                        จัดพิมพ์วารสาร “นวมินทร์สาร” เป็นวารสารของวัดออกทุกๆ
เดือนๆ ละ ๕๐๐ เล่ม จำนวน ๑๑ ครั้ง  จำนวน ๗๒,๐๐๐ เล่ม
พ.ศ.๒๕๕๖                         จัดกิจกรรมเข้าวัดวันอาทิตย์ใกล้ชิดพระศาสนา มีผู้มีทำบุญที่วัด
เป็นประจำ จำนวน ๕๐๐ คน ต่อวัน
.ศ ๒๕๕๗                       จัดโครงการอบรมปฏิบัติธรรมประจำเดือนตลอดปี ๒๕๕๗
เดือนละ ๑ ครั้ง ครั้งละ ๓ วัน ๒ คืน ในวันศุกร์-เสาร์-อาทิตย์
มีผู้ปฏิบัติธรรมหญิงจำนวน ๕๖๖ คน     ผู้ชาย ๑๒๗ คน 
รวม ๖๙๓ คน
พ.ศ. ๒๕๕๗                       รักษาการหัวหน้าศูนย์วิปัสสนากรรมฐานนวมินทรราชูทิศ
            พ.ศ.๒๕๕๗                              จัดโครงการบรรพชาอุปสมบท จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๓๗ รูป
          พ.ศ.๒๕๕๗                         จัดโครงการบวชชีพราหมณ์ จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๔๕๙ คน
พ.ศ.๒๕๕๗                              จัดโครงการปฏิบัติธรรมวันอาทิตย์ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๑,๐๐๐ คน
.. ๒๕๕๗                       เป็นกรรมกรรมจัดงานประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา  เมื่อวันที่ ๑๒ – ๑๓ เดือน มิถุนายน พ.. ๒๕๕๗ ที่วัดนวมินทรราชูทิศเมืองบอสตัน –เรย์แฮมส์ มลรัฐแมสซาชูเซสท์ ประเทศสหรัฐอเมริกา มีผู้เข้าร่วมการประชุม จำนวน ๔๕๐ รูป เพื่อปรึกษาหารือเกี่ยวกับการคณะสงฆ์ จำนวน ๒ เรื่อง คือ.- () เรื่อง การประชุมสามัญประจำปี สมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา () เรื่อง การเลือกตั้งกรรมการอำนวยการสมัชชาสงฆ์ไทยใน     สหรัฐอเมริกา
พ.ศ. ๒๕๕๗                             -เป็นผู้แสดงพระธรรมเทศนาในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
                                                -เป็นผู้แสดงพระธรรมเทศนาในวันธรรมสวนะ และงานบำเพ็ญกุศลในโอกาสสำคัญต่างๆ เป็นประจำ ทั้งที่เป็นงานมงคลและอวมงคล
                                       -ให้การร่วมมือกับคณะสงฆ์จัดการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา สมัยสามัญครั้งที่ ๓๘/๒๕๕๗ และ ครั้งที่ ๓๙/๒๕๕๘
                                       -ให้ความร่วมมือกับทางราชการจัดให้การบริการแก่ประชาชน เช่น กงสุลสัญจร และให้การสนับสนุนในงานประชุมที่เกิดขึ้นทุกครั้งและทำการช่วยเหลือในกิจการนั้นๆ อย่างสม่ำเสมอ
                                       -เปิดโอกาสให้ชาวต่างชาติมาเยี่ยมชมวัดทุกวันและเปิดโอกาสให้สาธุชนได้ทำบุญทุกวัน ทั้งในช่วงเทศการเข้าพรรษาและนอกเทศกาลเข้าพรรษา พร้อมบรรยายธรรมให้ชาวต่างชาติฟังเป็นประจำอยู่เนืองนิตย์

. งานสาธารณูปการ
พ.ศ.  ๒๕๔๙                      เป็นประธานดำเนินงานหาทุนก่อสร้างต่อเติมห้องน้ำอาคารที่พักผู้
ปฏิบัติธรรม “หอปฏิบัติธรรมพระพรหมวชิรญาณ” (กุฏิ) จำนวน ๒ ชั้น พร้อมด้วยเครื่องสุขภัณฑ์ ร่วมกับคณะศรัทธาญาติโยมวัดนวมินทรราชูทิศ รวมค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น ๒๑๑,๗๒๐.๐๕ ดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็นเงินไทยประมาณ ๖,๓๕๑,๖๐๐.๐๐ บาท(หกล้านสามแสนห้าหมื่นหนึ่งพันหกร้อยบาทสองแสนหนึ่งหมื่นหนึ่งพันเจ็ดร้อยบาท)
พ.ศ. ๒๕๔๙                       เป็นกรรมการอำนวยการโครงการสร้างวัดนวมินทรราชูทิศ รับผิดชอบในการจัดจัดซื้อที่ดินเพื่อการสร้างวัดนวมินทรราชูทิศเฉลิมพระเกียรติ ในฝ่ายสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีพระพระเดชพระคุณ พระพรหมวชิรญาณ กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าอาวาสวัดยานนาวา เป็นประธานโครงการสร้างวัด และประธานกรรมการอำนวยการวัดนวมินทรราชูทิศได้ลงนามซื่อที่ดิน ๕๕.๙๙  เอเคอร์ (๑๓๙.๙๗๕ ไร่) เป็นเงินจำนวน ๑.๕ ล้านเหรียญสหรัฐ  คิดเป็นเงินไทยประมาณ (๖๐,๐๐๐,๐๐๐.๐๐บาท) (หกสิบล้านบาท)
          พ.ศ.  ๒๕๔๙                      เป็นประธานดำเนินงานในนามคณะคณะกรรมการอำนวยการ
วัดนวมินทรราชูทิศ ซื้อบ้านหลัง ๑ หลังเพื่อขยายและปรับปรุงทัศนียภาพด้านหน้าวัดตามเจตนารมย์ของพระเดชพระคุณพระพรหมวชิรญาณ ในราคา ๓๕๕,๐๐๐ ดอลล่าร์สหรัฐ คิดเป็นเงินไทยประมาณ ๑๐,๖๕๐,๐๐๐.๐๐ บาท (สิบล้านหกแสนห้าหมื่นบาท)
พ.ศ.  ๒๕๕๔                      เป็นประธานดำเนินการก่อสร้างพระมหาธาตุเจดีย์ วัดธาตุน้อย มูลค่า จำนวน ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท (สิบล้านบาทถ้วน)
พ.ศ.  ๒๕๕๖                            เป็นกรรมการอำนวยการโครงการก่อสร้างวัดนวมินทรราชูทิศ สหรัฐอเมริกา เป็นผู้ประสานงานในการจัดการจัดซื้อที่ดินเพื่อการสร้างวัดนวมินทรราชูทิศ เฉลิมพระเกียรติ เพื่อปรับปรุงข้างหน้าวัดและด้านข้างเพื่อขยายเนื้อที่วัดออกไปอีก โดยได้ลงนามเซ็นสัญญาซื้อขาย แทนพระเดชพระคุณ พระพรหมวชิรญาณ ซื้อที่ดิน ๓๘ เอเคอร์ (๙๕ ไร่) เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๖ รวมเนื้อที่ดินวัดนวมินทรราชูทิศ ทั้งหมดขณะนี้ จำนวน ๙๓.๙๙ เอเคอร์ (๒๓๔.๙๗๕ ไร่) เป็นเงิน ๑.๓ ล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็นเงินไทยประมาณ ๓๙,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ บาท (สามสิบเก้าล้านบาท)
พ.ศ. ๒๕๕๗                             เป็นกรรมการอำนวยการโครงการก่อสร้างวัดนวมินทรราชูทิศ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสครองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี ใช้เวลาก่อสร้าง ๓ ปีเศษ เป็นเงินทั้งสิ้นประมาณ ๒,๔๐๐,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ บาท (สองพันสี่ร้อยล้านบาท)
พ.ศ. ๒๕๕๗                       เป็นกรรมการดำเนินจัดงาน“การพัทธสีมาพิธีอุโบสถและสมโภชวัดนวมินทรราชูทิศ เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี ๙ มิถุนายน ๒๕๔๙” ระหว่างวันที่ ๑๑-๑๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗
วัดนวมินทรราชูทิศ เฉลิมพระเกียรติ นครเคมบริดจ์-บอสตัน สหรัฐอเมริกา ในการจัดหาทุนเพื่อหาเจ้าภาพลูกนิมิตทั้งหมด เป็นเงินทั้งสิ้น ๔๐๐,๐๐๐ ดอลลาร์สหรัฐ  คิดเป็นเงินไทยประมาณ ๑๒,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ บาท (สิบสองล้านบาท)
พ.ศ.  ๒๕๕๗                      ร่วมบริจาคปัจจัยในการจัดงาน “การพัทธสีมาพิธีอุโบสถและสมโภชวัดนวมินทรราชูทิศ เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี ๙ มิถุนายน ๒๕๔๙” ระหว่างวันที่ ๑๑-๑๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นเงิน ๒,๖๐๐ ดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็นเงินไทยประมาณ ๗๘,๐๐๐.๐๐ บาท(เจ็ดหมื่นแปดพันบาท)
พ.ศ.  ๒๕๕๗                      ร่วมบริจาคก่อสร้างพระมหาธาตุเจดีย์ วัดธาตุน้อย อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ เป็นเงิน จำนวน ๑๐๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งแสนบาทถ้วน)

รวมผลงานค่าก่อสร้าง และบูรณปฏิสังขรณ์ถาวรวัตถุทุกรายการ
เป็นเงินทั้งสิ้น ๒,๕๓๘,๑๗๙,๖๐๐.๐๐ บาท
(สองพันห้าร้อยสามสิบแปดล้านหนึ่งแสนเจ็ดหมื่นเก้าพันหกร้อยบาท)

. งานศึกษาสงเคราะห์
พ.ศ.  ๒๕๓๓-๒๕๓๕             เป็นประธานดำเนินงานมอบทุนการศึกษาแก่พระภิกษุสามเณร-นักเรียนธรรมะศึกษาสำนักศาสนศึกษาวัดยางน้อย จังหวัดอุบลราชธานี เป็นเงิน  ๒๐๒,๐๐๐ บาท (สองแสนสองพันบาทถ้วน)
พ.ศ.  ๒๕๓๘                       เป็นประธานดำเนินงานหาทุนปรับปรุงห้องโสตทัศนศึกษาโรงเรียน
บ้านธาตุน้อย (สิงห์ประชาวิทยาคาร) และให้ทุนอาหารกลางวันเด็กนักเรียน เป็นเงิน  ๕๐,๐๐๐  บาท  (ห้าหมื่นบาทถ้วน)
พ.ศ.  ๒๕๕๔                      เป็นประธานดำเนินการก่อสร้างพระมหาธาตุเจดีย์ วัดธาตุน้อย อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี มูลค่า จำนวน ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท (สิบล้านบาทถ้วน)
พ.ศ.  ๒๕๕๔                      เป็นประธานกรรมการจัดหาทุนจัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อม
อุปกรณ์มอบให้  โรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ วัดธาตุน้อย ตำบลธาตุน้อย อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี เป็นเงิน  ๓,๐๐๐  เหรียญสหรัฐ  คิดเป็นเงินไทยประมาณ ๙๐,๐๐๐.๐๐ บาท(เก้าหมื่นบาท)
รวมทุกรายการด้านการศึกษาสงเคราะห์เป็นเงินทั้งสิ้น ๑๐,๓๔๒,๐๐๐.๐๐ บาท
(สิบล้านสามแสนสี่หมื่นสองพันบาทถ้วน)

๑๐. สมณศักดิ์
.. ๒๕๓๖                        เป็น พระครูสังฆรักษ์มงคล มงฺคโล ฐานานุกรมใน
พระเทพประสิทธิมนต์ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดจักรวรรดิราชาวาส
เขตสัมพันธ์วงศ์  กรุงเทพมหานคร
          .. ๒๕๔๒                        เป็น พระครูวินัยธรมงคล มงฺคโล  ฐานานุกรมใน
พระเทพประสิทธิมนต์ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดจักรวรรดิราชาวาส
เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร
.. ๒๕๔๔                        เป็น พระครูวินัยธรมงคล มงฺคโล ฐานานุกรมใน
พระธรรมวชิรญาณ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดจักรวรรดิราชาวาส
เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร
..๒๕๔๗                        เป็น พระครูวินัยธรมงคล มงฺคโล ฐานานุกรมใน
พระพรหมวชิรญาณ กรรมการมหาเถรสมาคม
เจ้าอาวาสวัดยานนาวา เขตสาทร  กรุงเทพมหานคร
          พ.ศ. ๒๕๕๖                        เป็น พระครูปลัดสุวัฒนวชิรคุณ ฐานานุกรมใน
พระพรหมวชิรญาณ กรรมการมหาเถรสมาคม
เจ้าอาวาสวัดยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร
          พ.ศ. ๒๕๕๗                             เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญที่ พระภาวนาวชิรวิเทศ วิ.         


      (พระภาวนาวชิรวิเทศ สป. วิ.)
 เจ้าของประวัติ


No comments:

Post a Comment